อัตราค่าปรับจราจร บทลงโทษแต่ละข้อหา เสียค่าปรับเท่าไหร่

ล่าสุด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประกาศกำหนดค่าปรับที่มีการปรับปรุงใหม่ หรือที่เรียกว่า “ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดจำนวนค่าปรับตามที่เปรียบเทียบสำหรับความผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2563” ซึ่งมีผลบังคับใช้แล้ว ลองมาดูกันว่า การทำผิดแต่ละข้อหา จะต้องถูกลงโทษ เสียค่าปรับเท่าไหร่กันบ้าง
1. นำรถที่มีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรงหรืออาจเกิดอันตราย หรืออาจทำให้ เสื่อมเสียสุขภาพ อนามัยแก่ผู้ใช้ คนโดยสารหรือประชาชนมาใช้ในทางเดินรถ
2. ไม่จัดให้รถที่ใช้ในทางเดินรถ มีเครื่องยนต์ เครื่องอุปกรณ์ และหรือส่วนควบที่ครบถ้วนตามกฎหมายและใช้การได้ดี
3. นำรถที่มิได้ติดแผ่นป้ายเลขทะเบียน แผ่นป้าย เครื่องหมายเลขทะเบียน หรือป้ายประจำรถตามกฎหมาย มาใช้ในทางเดินรถ
4. นำรถที่ไม่อาจมองเห็นทางพอแก่ความปลอดภัยมาใช้ในทางเดิน
5. นำรถที่ใช้วัสดุกรองแสงไม่เป็นไปตามระเบียบหรือประกาศที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนดมาใช้ในทางเดินรถ
6. นำรถที่เกิดเสียงอื้ออึงหรือมีสิ่งลากถูไปบนทางเดินรถมาใช้ในทางเดินรถ
7. นำรถที่มีล้อหรือส่วนที่สัมผัสกับผิวทางไม่ใช่ยางมาใช้ในทางเดินรถ
8. นำรถที่เครื่องยนต์ก่อให้เกิดก๊าซ ฝุ่น ควัน ละออง เคมี หรือเสียง เกินเกณฑ์ที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด มาใช้ในทางเดินรถ
หมวด 2 การใช้ไฟหรือเสียงสัญญาณของรถ
9. ขับรถในทางไม่เปิดไฟหรือใช้แสงสว่างตามประเภท ลักษณะและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
10. ไม่ใช้เสียงแตร (สำหรับรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์) ให้ได้ยินได้ในระยะไม่น้อยกว่าหกสิบเมตร
11. ไม่ใช้เสียงระฆัง (สำหรับรถม้า) ให้ได้ยินได้ในระยะ ไม่น้อยกว่าสามสิบเมตร
12. ไม่ใช้เสียงกระดิ่ง (สำหรับรถจักรยาน) ให้ได้ยินได้ ในระยะไม่น้อยกว่าสามสิบเมตร
13. ขับรถใช้ไฟแสงวับวาบ เสียงไซเรน เสียงที่เป็นเสียงนกหวีด เสียงที่แตกพร่า เสียงหลายเสียง เสียงดังเกินสมควรหรือเสียงสัญญาณอย่างอื่นที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด
14. รถฉุกเฉิน รถในราชการทหารหรือตำรวจหรือรถอื่นที่มี อำนาจใช้ไฟวับวาบหรือใช้เสียงไซเรนหรือเสียงสัญญาณ อย่างอื่น ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ผู้บัญชาการตำรวจ แห่งชาติกำหนด รวมทั้งเครื่องหมายที่แสดงถึงลักษณะ ของรถดังกล่าว
15. ใช้เสียงสัญญาณยาวหรือซ้ำเกินควร
16. ไม่ใช้เสียงสัญญาณหรือใช้ผิดเงื่อนไขในการใช้เสียง สัญญาณในเขตหรือท้องที่ที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กำหนด
17. รถที่บรรทุกของยื่นเกินความยาวของตัวรถไม่จุด ไฟสัญญาณแสงแดง หรือไม่ติดธงสีแดงไว้ที่ตอนปลาย สุดของสิ่งของที่บรรทุกนั้น ให้มองเห็นได้ในระยะไม่น้อย กว่าหนึ่งร้อยห้าสิบเมตร
18. รถที่บรรทุกของยื่นเกินความยาวของตัวรถไม่จุด ไฟสัญญาณแสงแดง หรือไม่ติดธงสีแดงไว้ที่ตอนปลาย สุดของสิ่งของที่บรรทุกนั้น ตามชนิด ลักษณะหรือ จำนวนตามที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด
19. ขับรถบรรทุกของเหลวไวไฟที่มีจุดวาบไฟในอุณหภูมิ ยี่สิบเอ็ดองศาเซลเซียสหรือต่ำกว่านั้นหรือที่บรรทุกก๊าซ ไวไฟ ไม่จุดไฟแสงแดงหรือติดธงสีแดงตามมาตรา 15 หรือจอดรถในทางเดินรถไม่จุดไฟแสงแดงหรือติดธง สีแดงตามมาตรา 56 และสัญญาณไฟที่ใช้ต้องไม่ใช่ชนิด ที่ใช้เชื้อเพลิง
20. ขับรถที่ใช้บรรทุกวัตถุระเบิดหรือวัตถุอันตรายชนิด อื่นใด ไม่จัดให้มีป้ายแสดงถึงวัตถุที่บรรทุกและเครื่อง ดับเพลิง และไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการป้องกันอันตราย
21. ขับรถที่ใช้บรรทุกวัตถุระเบิดหรือวัตถุอันตรายชนิด อื่นใด โดยลักษณะและวิธีการติดป้ายไม่แสดงถึงวัตถุที่ บรรทุกและเครื่องดับเพลิงตลอดจนเงื่อนไขในการป้องกันอันตราย ไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง
หมวด 3 การบรรทุก
22. ใช้รถที่บรรทุก คน สัตว์ หรือสิ่งของ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
23. ไม่จัดให้มีสิ่งป้องกันมิให้คน สัตว์ หรือสิ่งของที่บรรทุก ตกหล่น รั่วไหล ส่งกลิ่น ส่องแสงสะท้อนหรือปลิวไปจากรถ อันอาจก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญทำให้ทาง สกปรกเปรอะเปื้อน ทำให้เสื่อมเสียสุขภาพอนามัยแก่ประชาชนหรือก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน

24. ไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจรและเครื่องหมายจราจร ที่ได้ติดตั้งไว้หรือทำให้ปรากฏในทางหรือที่เจ้าพนักงาน จราจรแสดงให้ทรา
25. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
26. ขับรถไม่เข้าอยู่ในช่องเดินรถที่มีเครื่องหมายจราจร แสดงให้ตรงไปเมื่อจะขับรถตรงไปหรือไม่เข้าอยู่ในช่องเดินรถที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงให้เลี้ยวเมื่อจะเลี้ยวรถ
27. ขับรถในช่องเดินรถที่มีสัญญาณไฟสีแดงที่ทำเป็นรูปกากบาทเฉียงอยู่เหนือช่องเดินรถมากกว่าสองช่องขึ้นไป
28. ไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจรมือที่เจ้าพนักงานจราจร แสดงให้ปรากฏข้างหน้า
29. ไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่เจ้าพนักงานจราจรแสดง ด้วยเสียงสัญญาณนกหวีด
30. ไม่ปฏิบัติการเดินรถตามสัญญาณที่เจ้าพนักงานจราจร กำหนดให้
31. ทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เปลี่ยนแปลงเคลื่อนย้าย ขีดเขียน หรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งสัญญาณจราจร หรือเครื่องหมายจราจรที่เจ้าพนักงานจราจรหรือ เจ้าพนักงานติดตั้งไว้หรือทำให้ปรากฏในทาง
ลักษณะ 3 การใช้ทางเดินรถ
หมวด 1 การขับรถ
32. ในขณะขับรถในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ไม่มีใบอนุญาตขับขี่อยู่กับตัวและไม่อาจแสดงต่อเจ้าพนักงานจราจรเมื่อขอตรวจ
33. ไม่ขับรถในทางเดินรถด้านซ้าย และล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ
34. ไม่ขับรถในช่องซ้ายสุดหรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง (ทางเดินรถนั้นแบ่งไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไปหรือจัดช่อง เดินรถประจำทางไว้ซ้ายสุด)
35. ไม่ขับรถในช่องซ้ายสุดหรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง (ทางเดินรถนั้นแบ่งไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไปหรือจัดช่องเดินรถประจำทางไว้ซ้ายสุดและเฉพาะรถบรรทุก รถบรรทุกคนโดยสาร รถจักรยานยนต์ รถที่มีความเร็ว ช้าหรือรถที่ใช้ความเร็วต่ำกว่าความเร็วของรถคันอื่นในทางเดียวกัน)
36. ไม่ให้สัญญาณมือและแขนหรือไฟสัญญาณหรือสัญญาณอย่างอื่นให้รถคันอื่นผ่านหรือแซงขึ้นหน้า เมื่อจะเปลี่ยนช่องเดินรถ ลดความเร็วของรถ จอดรถหรือหยุดรถ
37. ไม่ให้สัญญาณไฟเมื่อสภาพของรถ การบรรทุก ทัศนวิสัย ไม่อาจทำให้ผู้ขับขี่สวนมาหรือตามมาข้างหลัง เห็นสัญญาณด้วยแขนและมือได้
38. ไม่ให้สัญญาณมือและแขน ไฟสัญญาณหรือสัญญาณอื่น ก่อนจะเลี้ยวรถ เปลี่ยนช่องเดินรถ จอดรถหรือหยุดรถ เป็นระยะทางไม่น้อยกว่าสามสิบเมตร
39. ไม่ให้สัญญาณมือและแขน ไฟสัญญาณหรือสัญญาณอื่น ก่อนให้รถคันอื่นขับผ่านหรือแซงขึ้นหน้าหรือลด ความเร็วของรถ ให้ผู้ขับรถอื่นเห็นได้ในระยะไม่น้อยกว่าหกสิบเมตร
– ไม่ให้สัญญาณมือและแขน เมื่อจะหยุดรถ
– ไม่ให้สัญญาณมือและแขน เมื่อจะให้รถคันอื่นผ่านหรือแซงขึ้นหน้า
– ไม่ให้สัญญาณมือและแขน เมื่อจะเลี้ยวขวาหรือเปลี่ยนช่องเดินรถไปทางขวา
– ไม่ให้สัญญาณมือและแขน เมื่อจะเลี้ยวซ้ายหรือเปลี่ยนช่องเดินรถไปทางซ้าย
– จำนวนค่าปรับ 200 บาท
41. กรณีที่รถยนต์นั้นมีเครื่องขับอยู่ทางด้านซ้าย ให้ใช้ไฟสัญญาณแทน ถ้าฝ่าฝืนตามลำดับที่ 40 ผิดทำนองเดียวกัน
42. ไม่ให้ไฟสัญญาณไฟสีแดงที่ท้ายรถ เมื่อจะหยุด
43. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 200 บาท
44. ไม่ขับรถชิดด้านซ้ายของทางเดินรถเมื่อรถสวนกัน (ถือกึ่งกลางของทางเป็นหลัก ถ้าแบ่งเป็นช่องให้ถือเส้นหรือแนวที่แบ่งนั้น)
45. ไม่ลดความเร็วเพื่อให้รถสวนกันได้โดยปลอดภัยในทางเดินรถที่แคบ
46. รถคันใหญ่กว่าไม่หยุดให้ชิดขอบทางด้านซ้าย เพื่อให้รถที่เล็กกว่าสวนผ่านไปได้ในทางรถที่แคบ ซึ่งไม่อาจขับรถสวนทางกันได้โดยปลอดภัย
47. ไม่ลดความเร็วหรือหยุดรถ เพื่อให้รถคันที่สวนมาผ่านไปได้ในทางเดินรถที่มีสิ่งกีดขวางอยู่ข้างหน้า
48. ไม่ขับรถไปตามทิศทางที่กำหนดให้เดินรถทางเดียว
49. ไม่ขับรถชิดด้านซ้ายของช่องทางเดินรถที่เป็นสองช่องทาง
50. ขับรถในลักษณะที่กีดขวางการจราจร
51. ขับรถโดยประมาทหรือน่าหวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
52. ขับรถคร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องเดินรถ
53. ขับรถบนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันสมควร
54. ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในขณะขับรถโดยไม่ใช้อุปกรณ์เสริมสำหรับการสนทนา
หมวด 2 การขับแซงและผ่านขึ้นหน้า
55. ไม่ให้สัญญาณกระพริบไฟหน้าหลายครั้งหรือไม่ให้สัญญาณยกเลี้ยวขวาหรือไม่ให้เสียงสัญญาณดังพอที่จะให้ผู้ขับขี่รถคันหน้าให้สัญญาณตอบ เมื่อจะขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถอื่นในทางเดินรถซึ่งไม่ได้แบ่งช่องทางเดินรถไว้
56. ขับรถแซงขวาโดยไม่มีระยะห่างจากรถที่ถูกแซงพอสมควร
57. ขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถอื่นด้านซ้าย
58. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
59. ขับรถแซงหรือผ่านขึ้นหน้ารถอื่น ล้ำเส้นกึ่งกลางของทางหรือที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงเขตอันตรายหรือเขตให้ใช้ความระมัดระวังบนทางเดินรถ
60. ขับรถแซงหรือผ่านขึ้นหน้ารถคันอื่นล้ำาเข้าไปในช่องเดินรถประจำทาง
61. ไม่ยอมให้รถที่ใช้ความเร็วสูงกว่าผ่านขึ้นหน้าเมื่อได้รับสัญญาณขอแซงโดยไม่ให้สัญญาณตอบ เมื่อทางด้านหน้าปลอดภัยและไม่มีรถอื่นสวนทางมาในระยะกระชั้นชิดและไม่ลดความเร็วและขับรถชิดด้านซ้าย
หมวด 3 การออกรถ การเลี้ยวรถ และการกลับรถ
62. ขับรถออกจากที่จอดโดยไม่ให้สัญญาณมือและแขนหรือไฟสัญญาณ
63. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
64. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
65. ไม่เลี้ยวอ้อมไปทางซ้ายของวงเวียนหรือเกาะที่สร้างไว้ เมื่อจะเลี้ยวอ้อมวงเวียนหรือเกาะที่สร้างไว้
67. กลับรถหรือเลี้ยวรถทางขวาเมื่อมีรถอื่นสวนหรือตามมาในระยะน้อยกว่าหนึ่งร้อยเมตร
68. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
กลับรถที่เขตปลอดภัยที่คับขันบนสะพานหรือในระยะหนึ่งร้อยเมตรจากทางราบของเชิงสะพาน
กลับรถที่ทางร่วมทางแยก
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
หมวด 4 การหยุดรถและจอดรถ
69. หยุดรถหรือจอดรถโดยไม่ให้สัญญาณมือและแขนหรือไฟสัญญาณในระยะไม่น้อยกว่าสามสิบเมตรก่อนและเห็นว่าปลอดภัยไม่กีดขวางการจราจร
70. ไม่จอดรถให้ขนานชิดกับขอบทางหรือไหล่ทางด้านซ้ายในระยะห่างไม่เกินยี่สิบห้าเซนติเมตร หรือไม่จอดรถตามทิศทางหรือด้านหนึ่งด้านใดของทางเดินรถที่หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจรกำหนด หรือจอดในช่องเดินรถประจำทางในลักษณะดังกล่าวในเวลาที่กำหนดให้ใช้ช่องเดินรถประจำทาง
71. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– หยุดรถตรงปากทางเข้าออกของอาคารหรือทางเดินรถ
– หยุดรถในเขตปลอดภัย
– จำนวนค่าปรับ 200 บาท
72. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– หยุดรถในเขตที่มีเครื่องหมายห้ามหยุดรถ
– จำนวนค่าปรับ 300 บาท
73. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– หยุดรถในทางร่วมทางแยก
– หยุดรถในลักษณะกีดขวางการจราจร
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
74. ไม่นำรถที่เครื่องยนต์หรือเครื่องอุปกรณ์ขัดข้องให้พ้นทางเดินรถโดยเร็วที่สุด หรือจอดรถอยู่ในทางเดินรถนั้นในลักษณะที่กีดขวางการจราจร และไม่แสดงเครื่องหมายหรือสัญญาณตามลักษณะและเงื่อนไขตามกฎกระทรวง
75. จอดรถที่เครื่องยนต์หรือเครื่องอุปกรณ์ขัดข้อง ในลักษณะกีดขวางการจราจรและไม่แสดงเครื่องหมายหรือสัญญาณตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
76. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จอดรถบนสะพานหรือในอุโมงค์
– จอดรถในทางร่วมทางแยกหรือในระยะสิบเมตรจากทางร่วมทางแยก
– จอดรถในทางข้ามหรือในระยะสามเมตรจากทางข้าม
– จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ
– จอดรถซ้อนกันกับรถที่จอดอยู่ก่อนแล้ว
– จอดรถในที่คับขัน
– จอดรถในลักษณะกีดขวางการจราจร
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
77. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– จอดรถในระยะสิบเมตรจากที่ติดตั้งสัญญาณจราจร
– จอดรถตรงปากทางเข้าออกของอาคารหรือทางเดินรถหรือในระยะห้าเมตรจากปากทางเดินรถ
– จอดรถระหว่างเขตปลอดภัยกับขอบทางหรือในระยะสิบเมตรนับจากปลายสุดของเขตปลอดภัย ทั้งสองข้าง
– จอดรถในระยะสิบห้าเมตรก่อนถึงเครื่องหมายหยุดรถประจำทางและเลยเครื่องหมายหยุดรถไปอีกสามเมตร
– จอดรถในระยะสามเมตรจากตู้ไปรษณีย์
79. จอดรถโดยไม่หยุดเครื่องยนต์และห้ามล้อรถ
80. จอดรถในทางลาดหรือชันโดยไม่หันล้อหน้าของรถเข้าขอบทาง
81. หยุดรถหรือจอดรถนอกเขตเทศบาล ซึ่งผู้ขับขี่รถอื่นไม่เห็นได้ในระยะไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยห้าสิบเมตร
82. จอดรถในทางหรือไหล่ทางไม่เปิดไฟหรือแสงสว่าง ที่กฎกระทรวงกำหนดให้เพียงพอที่จะมองเห็นได้ในระยะไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยห้าสิบเมตร
83. ในทางเดินรถตอนใดที่มีทางรถไฟผ่าน ถ้าปรากฏว่าผู้ขับขี่ไม่ลดความเร็วและหยุดรถให้ห่างจากท างรถไฟ ไม่น้อยกว่าห้าเมตร ดังต่อไปนี้
– เมื่อมีสิ่งปิดกั้นหรือมีเจ้าหน้าที่ให้สัญญาณแสดงว่า รถไฟกำลังแล่นผ่านเข้ามาใกล้อาจเกิดอันตรายได้
– มีเสียงสัญญาณของรถไฟหรือรถไฟกำลังแล่นผ่านเข้ามาใกล้อาจเกิดอันตรายในเมื่อจะขับรถผ่านไป
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
84. ไม่ลดความเร็วและหยุดรถห่างจากทางรถไฟไม่น้อยกว่าห้าเมตร ไม่ว่าจะมีเครื่องหมายหรือสัญญาณระวังรถไฟหรือสิ่งปิดกั้นหรือไม่
85. ไม่ใช้ความระมัดระวังและลดความเร็วเมื่อขับรถตามหรือสวนรถโรงเรียนขณะหยุดรถเพื่อรับส่งนักเรียนขึ้นหรือลง

86. ไม่ขับขี่รถโดยสารประจำทางและรถบรรทุกคนโดยสาร ในช่องเดินรถประจำทางตามประเภทที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด
87. ขับรถอื่นนอกจากรถประจำทางหรือรถบรรทุกคนโดยสารประเภทที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนดในช่องเดินรถประจำทาง
ลักษณะ 5 ข้อกำหนดเกี่ยวกับความเร็วของรถ
88. ไม่ขับรถด้วยอัตราความเร็วตามที่กำหนดในกฎกระทรวงหรือตามเครื่องหมายจราจรที่ติดตั้ง
89. ไม่ลดความเร็วเมื่อจะเลี้ยวรถให้รถอื่นแซง หรือผ่านขึ้นหน้า จอดรถ หยุดรถ หรือกลับรถ
90. ไม่ลดความเร็วในลักษณะที่จะให้เกิดความปลอดภัย เมื่อขับรถบนเนินเขา บนสะพาน ที่เชิงสะพาน ที่แคบ ทางโค้ง ทางลาด ที่คับขันหรือที่มีหมอกฝน ฝุ่นหรือควัน จนทำให้ไม่อาจเห็นทางข้างหน้าได้ในระยะหกสิบเมตร
91. ไม่ลดความเร็วเมื่อขับรถเข้าใกล้ทางร่วม ทางแยก ทางข้าม เส้นให้รถหยุดหรือวงเวียน
92. ในขณะขับรถกระทำการดังต่อไปนี้
– ถ้ามาถึงทางร่วมทางแยกพร้อมกันและไม่มีรถอยู่ในทางร่วมทางแยก ผู้ขับขี่ไม่ให้รถที่อยู่ทางด้านซ้ายของตนผ่านไปก่อน เว้นแต่ในทางร่วมทางแยกใดมีทางเดินรถทางเอกตัดผ่านทางเดินรถทางโท ให้ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถในทางเอกมีสิทธิขับผ่านไปก่อน
– ถ้าสัญญาณจราจรไฟสีเขียวปรากฏข้างหน้า แต่ในทางร่วมทางแยกมีรถอื่นหยุดขวางอยู่จนไม่ สามารถผ่านพ้นทางร่วมทางแยกไปได้ ผู้ขับขี่ไม่หยุดรถ ที่หลังเส้นให้รถหยุดจนกว่าจะสามารถเคลื่อนรถผ่านพ้นทางร่วมทางแยกไปได้
– จำนวนค่าปรับ 400 บาท
93. ผู้ขับขี่ไม่ปฏิบัติตามสัญญาณหรือเครื่องหมายจราจรที่ติดตั้งไว้ที่วงเวียน
94. ไม่ให้สิทธิแก่ผู้ขับขี่ขับรถในวงเวียนทางด้านขวาผ่านไปก่อน
95. ไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจรซึ่งเจ้าพนักงานจราจรกำหนดไว้ที่วงเวียน
96. ขับรถออกจากทางส่วนบุคคลหรือในบริเวณอาคารโดยไม่หยุดให้รถที่กำลังผ่านทางหรือรถที่กำลังแล่นอยู่ในทางเดินรถผ่านไปก่อน
ลักษณะ 7 รถฉุกเฉิน
97. ขับรถโดยไม่หยุดรถหรือจอดรถให้อยู่ชิดขอบทางด้านซ้ายหรือชิดช่องเดินรถประจำทางเมื่อเห็นรถฉุกเฉิน
ลักษณะ 8 การลากรถหรือการจูงรถ
98. ใช้รถ (ทุกชนิด) ลากรถหรือจูงรถอื่นไปในทางเกินหนึ่งคัน
99. ใช้รถ (ทุกชนิด) โดยวิธีลากรถหรือจูงรถ และการมี เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยในการลากรถหรือจูงรถ ไม่เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ลักษณะ 10 รถจักรยาน
100. ไม่ขับรถจักรยานในทางที่ได้จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน
101. รถจักรยานที่ใช้ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ผู้ขับขี่รถจักรยานไม่จัดให้มีดังต่อไปนี้
– จำนวนค่าปรับ 200 บาท
102. ขับขี่รถจักรยานไม่จุดโคมไฟแสงขาวหน้ารถ
103. ขับขี่รถจักรยานไม่ชิดขอบทางด้านซ้ายให้มากที่สุดหรือ ให้ชิดช่องรถประจำทาง
104. ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยานกระทำการดังต่อไปนี้
– ขับขี่รถจักรยานโดยไม่จับคันบังคับรถ
– ขับขี่รถจักรยานขนานกันเกินสองคัน
– ขับขี่รถจักรยานโดยนั่งบนที่อื่นอันมิใช่อานที่จัดไว้ เป็นที่นั่งตามปกติ
– ขับขี่รถจักรยานโดยบรรทุกบุคคลอื่น
– ขับขี่รถจักรยานบรรทุกหรือถือสิ่งของหีบห่อหรือ ของในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจับคันบังคับ อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
– จำนวนค่าปรับ 200 บาท
105. ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ขับขี่รถจักรยานเกาะหรือพ่วงรถอื่นที่กำลังแล่น
106. ขับขี่รถจักรยานฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 21 ถึง 26, 32 ถึง 34, 36, 37, 39 ถึง 42, 45 ถึง 57, 59 ถึง 64, 69 ถึง 74, 76 (2), 78, 125, 129 และ 133
ลักษณะ 11 รถบรรทุกคนโดยสาร
107. เจ้าของหรือผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารรับบรรทุกศพ หรือคนที่เป็นโรคเรื้อน หรือโรคติดต่อ ร่วมไปกับคนโดยสารอื่น
108. เจ้าของหรือผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสาร ผู้เก็บค่าโดยสารหรือบุคคลใดที่มีส่วนได้เสีย เรียกให้คนขึ้นรถโดยส่งเสียงอื้ออึงหรือในลักษณะที่ก่อความรำคาญให้แก่คนโดยสารหรือผู้อื่น หรือต้อน ดึง เหนี่ยวหรือยึดยื้อคนหรือสิ่งของของคนนั้นเพื่อให้คนขึ้นรถ
109. เจ้าของหรือผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารหรือผู้เก็บค่าโดยสารปฏิเสธไม่รับจ้างบรรทุกคนโดยสารโดยไม่มีเหตุอันสมควร
110. ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารไม่หยุดรถและส่งคนโดยสารที่เครื่องหมายหยุดรถประจำทางหรือ ณ สถานที่ ตามที่ตกลงกันไว้
111. ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารหรือผู้เก็บค่าโดยสารรับบรรทุกคนโดยสารเกินจำนวนที่กฎหมายกำหนด
112. ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารกระทำการ ดังต่อไปนี้
2. จอดรถเป็นคันหัวแถวของรถคันอื่นห่างจากเครื่องหมายจราจรเกินหนึ่งเมตร
3. จอดรถห่างจากท้ายรถคันหน้าเกินหนึ่งเมตร
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
113. ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารหรือผู้เก็บค่าโดยสารสูบบุหรี่ หรือคุยกันในขณะขับรถ หรือทำหน้าที่เก็บค่าโดยสาร
114. ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารหรือผู้เก็บค่าโดยสารกล่าววาจาไม่สุภาพ เสียดสี ดูหมิ่น ก้าวร้าวหรือแสดงกิริยาในลักษณะดังกล่าวต่อคนโดยสารหรือผู้อื่น
115. ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารไม่หยุดเครื่องยนต์และให้คน โดยสารลงจากรถทุกคนเมื่อจะเติมน้ำมันเชื้อเพลิงชนิด ไวไฟที่มีจุดวาบไฟในอุณหภูมิยี่สิบเอ็ดองศาเซลเซียส หรือต่ำกว่านั้น
ลักษณะ 12 รถแท็กซี่
116. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ปฏิเสธไม่รับจ้างบรรทุกคนโดยสาร
117. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ไม่รับจ้าง ไม่แสดงป้ายงดรับจ้างบรรทุกคนโดยสาร
118. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่รับบรรทุกคนโดยสารเกินจำนวนที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
119. ผู้ใดกระทำการ ดังต่อไปนี้
2. ต้อน ดึง เหนี่ยว หรือยึดยื้อคนหรือสิ่งของของคนนั้น เพื่อให้คนขึ้นรถแท็กซี่คันใดคันหนึ่ง
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
120. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่เรียกเก็บค่าโดยสารเกินอัตราที่ปรากฏจากมาตรแท็กซี่
121. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ไม่ใช้ลักษณะและวิธีการใช้มาตรแท็กซี่ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
122. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ในท้องที่มิได้บังคับใช้มาตรเรียกเก็บค่าโดยสารเกินราคาที่ตกลงกันไว้ และคนโดยสารต้องชำระค่าโดยสารตามที่ตกลงกันไว้
123. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ประเภทที่มิได้บังคับให้ใช้มาตรเรียกเก็บค่าโดยสารเกินราคาที่ตกลงกันไว้ และคนโดยสารต้องชำระค่าโดยสารตามที่ตกลงกันไว้
124. ในขณะขับรถ ผู้ขับขี่รถแท็กซี่กระทำการ ดังต่อไปนี้
2. ยื่นมือ แขนหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายออก
นอกรถ
3. จับคันบังคับด้วยมือข้างเดียว
4. ใช้เสียงสัญญาณเมื่อเข้าไปในบริเวณโรงพยาบาล
สถานที่ทำงานหรือสถานศึกษา
5. ใช้เสียงสัญญาณแตร เพื่อเร่งรถอื่น
6. แซงหรือตัดหน้ารถอื่นในลักษณะฉวัดเฉวียน เป็นที่น่าหวาดเกรงว่าจะเกิดอันตราย
7. ขับรถเข้าไปในบริเวณบ้านของผู้อื่น
8. รับคนโดยสารในบริเวณที่กำหนดเครื่องหมายห้ามรับคนโดยสาร
9. กล่าววาจาไม่สุภาพ เสียดสี ดูหมิ่น ก้าวร้าว หรือแสดงกิริยาในลักษณะดังกล่าวต่อหน้าคนโดยสารหรือผู้อื่น
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
125. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ไม่พาคนโดยสารไปยังสถานที่ที่ว่าจ้างตามเส้นทางที่สั้นที่สุดหรือเส้นทางที่ไม่อ้อมเกินควรและต้องส่งคนโดยสาร ณ สถานที่ตามที่ตกลงกันไว
126. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่พาคนโดยสารไปทอดทิ้งระหว่างทาง ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ
127. ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ไม่แต่งกายหรือมีเครื่องหมายเย็บติดหรือ ปักไว้ที่เครื่องแต่งกาย
ลักษณะ 15 รถม้า เกวียนและเลื่อน
128. ขับรถม้าหรือเกวียนหรือเลื่อนที่เทียมด้วยสัตว์จอดในทางโดยไม่มีผู้ควบคุม
129. ปล่อยสายบังเหียนในเวลาขับรถม้า
130. ขับ รถม้า เกวียนหรือเลื่อนที่เทียมด้วยสัตว์โดยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรทางบกว่าด้วยรถ
ลักษณะ 16 เขตปลอดภัย
131. ขับขี่รถเข้าไปในเขตปลอดภัย
132. ขับขี่รถถอยหลังในลักษณะที่ไม่ปลอดภัยหรือเป็นการ กีดขวางการจราจร
133. ขับขี่รถจักรยานยนต์ไม่นั่งคร่อมบนอานที่จัดไว้และคนโดยสารไม่นั่งซ้อนท้ายบนอานที่จัดไว้หรือนั่งในที่นั่งพ่วงข้าง
134. ขับขี่รถจักรยานยนต์ไม่สวมหมวกที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อป้องกันอันตราย
135. ขับขี่รถจักรยานยนต์ในขณะที่คนโดยสารถจักรยานยนต์ มิได้สวมหมวกที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อป้องกันอันตราย
136. ขับขี่รถจักรยานยนต์สวมหมวกเพื่อป้องกันอันตรายที่ไม่ เป็นไปตามกฎกระทรวงหรือใช้หมวกเพื่อป้องกันอันตรายไม่เป็นไปตามวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
137. ผู้ขับขี่รถยนต์ยอมให้ผู้อื่นนั่งตอนหน้าแถวเดียวกับที่นั่งคนขับรถเกินสองคน
138. ผู้ขับขี่รถยนต์ไม่รัดร่างกายด้วยเข็มขัดนิรภัยไว้กับที่นั่งในขณะขับขี่รถยนต์ และไม่จัดให้คนโดยสารรถยนต์รัดร่างกายไว้กับที่นั่งด้วยเข็มขัดนิรภัยขณะโดยสารรถยนต์
139. ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดสำนักงานตำรวจแห่งชาติเกี่ยวกับการกำหนดประเภทและชนิดของรถยนต์ลักษณะและวิธีใช้เข็มขัดนิรภัย
140. ผู้ขับขี่หรือผู้เก็บค่าโดยสารรถประจำทาง รถบรรทุกคนโดยสาร รถโรงเรียน หรือรถแท็กซี่ยินยอมให้ผู้ใด กระทำการเกาะ ห้อยโหนหรือยื่นส่วนของร่างกาย ออกไปนอกตัวถังรถยนต์ โดยไม่สมควรนั่งหรือยืนบน รถยนต์ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดอันตราย หรือ ขึ้นหรือ ลงรถโดยสารประจำทาง รถบรรทุกคนโดยสาร รถโรงเรียนหรือรถแท็กซี่ในขณะที่รถดังกล่าวหยุดเพื่อ รอสัญญาณไฟหรือหยุด เพราะติดการจราจร
141. ไม่ขับรถให้ชิดขอบทางด้านซ้ายเมื่อผ่านทางแคบระหว่างภูเขา หรือระหว่างเนินหรือในทางเดินรถบน ภูเขาหรือบนเนิน และไม่ใช้เสียงสัญญาณเมื่อถึงทางโค้ง
142. ใช้เกียร์ว่างหรือเหยียบคลัทช์ ในขณะที่ขับรถลงทางลาดหรือไหล่เขา
143. ในขณะขับรถกระทำการ ดังต่อไปนี้
2. ขับรถผ่านเข้าไปหรือจอดในบริเวณเขตปฏิบัติการดับเพลิง
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
144. ขับรถทับสายสูบดับเพลิงที่ไม่มีเครื่องป้องกันในขณะที่เจ้าหน้าที่ดับเพลิงปฏิบัติการตามหน้าที่
146. เจ้าของหรือผู้ขับขี่รถโรงเรียน ไม่จัดให้มีข้อความ “รถโรงเรียน” ขนาดตัวอักษรสูงไม่น้อยกว่าสิบห้าเซนติเมตร ติดอยู่ด้านหน้าและด้านหลังของรถ
147. ใช้รถโรงเรียนที่มีไฟสัญญาณสีแดงปิดเปิดเป็นระยะติดไว้ด้านหน้าและด้านหลังของรถเพื่อให้รถที่สวนมาหรือตามหลังเห็นได้โดยชัดเจน เมื่อนำรถนั้นไปใช้ในทางโดยไม่ได้ใช้รับส่งนักเรียน และใช้ไฟสัญญาณสีแดงและ ไม่ปิดคลุมข้อความว่า “รถโรงเรียน”
148. นำรถเข้าขบวนแห่หรือนำรถมาใช้เฉพาะเพื่อการโฆษณาสินค้าหรือมหรสพที่แห่หรือโฆษณาไปตามทางโดยไม่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร
149. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยหรือความสะดวกในการจราจรกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุเกิดขึ้น (ชั่วระยะเวลาเท่าที่จำเป็น) แต่มีการฝ่าฝืนคำสั่ง ดังต่อไปนี้
1. คำสั่งห้ามรถทุกชนิดหรือบางชนิดหรือคนเดินเท้า เดินในทางสายใดหรือเฉพาะทางตอนใด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
2. คำสั่งห้ามหยุดหรือจอดรถในทางสายใด หรือเฉพาะทางตอนใด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
3. คำสั่งห้ามเลี้ยวรถ กลับรถ หรือถอยหลังรถในทางสายใดหรือเฉพาะทางตอนใด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
4. คำสั่งที่กำหนดทางสายใดหรือเฉพาะทางตอนใดให้ รถเดินได้ทางเดียว ชั่วระยะเวลาที่จำเป็น (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
2. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่ห้ามหยุดหรือจอด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
3. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่ห้ามเลี้ยวรถ กลับรถหรือถอยหลังรถ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
4. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดให้รถเดินได้ทางเดียว (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
5. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดระยะเวลาจอดรถในทางแคบหรือคับขัน (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
6. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดอัตราความเร็วของรถภายในอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
7. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดช่องหรือแนวทางเดินรถขึ้นและล่อง (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
8. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดทางเดินรถทางเอกและทางเดินรถทางโท (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
9. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดการจอดรถหรือที่จอดพักรถ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
10. ระเบียบที่กำหนดการใช้ทางหรือช่องเดินรถสำหรับรถบางประเภท (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
11. ระเบียบที่กำหนดการเกี่ยวกับการใช้รถโรงเรียน (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
12. ระเบียบที่กำหนดเกี่ยวกับการบรรทุกคนโดยสารสำหรับรถจักรยาน (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
13. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่ควบคุมขบวนแห่หรือการชุมนุมสาธารณะ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
14. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่ควบคุมหรือห้ามเลี้ยวรถในทางร่วมทางแยก (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
15. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่ขีดเส้นหรือทำเครื่องหมายจราจรบนผิวทางหรือติดตั้งสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจร (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
16. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดระยะทางตอนใด ให้ขับรถล้ำเข้าไปในเส้นกึ่งกลางของทางที่หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจรกำหนดไว้ได้ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
17. ระเบียบที่กำหนดเกี่ยวกับการจอดรถที่ชำรุด หักพัง ตลอดจนรถที่ซ่อมแซม (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
18. ระเบียบที่กำหนดการข้ามทางของคนเดินเท้า บนทางที่ไม่มีทางข้าม (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
19. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดการใช้โคมไฟ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
20. ประกาศ ข้อบังคับหรือระเบียบที่กำหนดการใช้ เสียงสัญญาณ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
21. ระเบียบที่กำหนดการอนุญาตและการใช้รถที่มีล้อ หรือส่วนที่สัมผัสกับผิวทางไม่ใช่ยาง (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
151. ฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจรหรือเจ้าพนักงานจราจรให้หยุดรถ กรณีดังต่อไปนี้
2. ผู้ขับขี่หรือบุคคลในรถนั้นได้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบกหรือกฎหมายอันเกี่ยวกับรถนั้นๆ (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
– จำนวนค่าปรับ 500 บาท
152. ฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร เจ้าพนักงานจราจร หรือผู้ตรวจการที่ให้หยุดรถเพื่อตรวจสอบว่ารถนั้น มีเครื่องยนต์ก่อให้เกิดก๊าซ ฝุ่น ควัน ละอองเคมี หรือเสียงเกินเกณฑ์ที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
153. ฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร เจ้าพนักงาน จราจร หรือผู้ตรวจการที่ให้หยุดรถเพื่อตรวจสอบว่า รถนั้น มีเครื่องยนต์ก่อให้เกิดก๊าซ ฝุ่น ควัน ละอองเคมี หรือเสียงเกินเกณฑ์ที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนด (ถ้าไม่เป็นความผิดอื่น)
154. นำรถที่หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร เจ้าพนักงานจราจร หรือผู้ตรวจการสั่งให้ซ่อมหรือแก้ไขไปใช้ในทางโดยยังมิได้รับใบตรวจรับรอง
155. ขัดคำสั่งเจ้าพนักงานจราจรซึ่งสั่งตามมาตรา 140/2 หรือมาตรา 140/3 วรรคหนึ่ง